วันอังคารที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

Newspaper Scanning(2)

Singapore Airlines : losing altitude 
February 3, 2012 7:23 pm

                Oh, to be Singapore Airlines. Undershoot profit forecasts, halving net income in the process, and watch shares slip just a little. It helps that Temasek, the state investment agency, holds more than half the stock. This was the carrier’s fifth profit fall in a row. Compared with rivals, its shares are starting to look expensive.
                Asia is still where airlines want to be. The International Air Transport Association predicts 2 per cent growth in passenger travel in the region next year, just below the 2.2 per cent seen for the US. However, net profits for the region are expected to rise by 2.1 per cent, compared with 1.7 per cent for US carriers. But meeting bottom-line targets will be hard given pressures such as rising jet fuel prices. Just ask Singapore Airlines. It did in fact squeeze out a 1 per cent rise in revenues compared with last year, but that was swamped by a 12 per cent rise in costs, almost all related to fuel. Its operating margin shrank accordingly, from 13 per cent to 4 per cent. Ouch.
              That only puts more emphasis on efficiency. This is where Singapore Airlines falls a little short: its load factor was 77 per cent last quarter. That is just above Iata’s December average of 76 per cent for the region, but below the latest figures of 80 per cent and 79 per cent from rivals Qantas andCathay Pacific. On other measures, however, Singapore Airlines is highly rated, especially compared with Qantas. The Australian airline trades at 0.3 times its sales and 10 times forward earnings, well below Singapore Airlines’ 0.9 and 18 times, and Cathay Pacific’s 0.6 and 11 times.True, Qantas has been hampered by labour relations, and investors also fear a cash call to fund fleet replacement plans. But, compared with Singapore Airlines, Qantas is cheap, battle-hardened and has made some progress on costs. It appears the better bet, for now.


                    ไม่น่าเชื่อว่าสิงคโปร์แอร์ไลน์จะมีการคาดการณ์ผลกำไรที่ต่ำกว่าเป้าหมาย  มีกำไรสุทธิจากการดำเนินงานลดลง  และหุ้นไม่มีความคล่องตัว   ส่งผลให้ Temasek ซึ่งเป็นหน่วยงานการลงทุนของรัฐ ได้เข้ามาถือหุ้นเกินกว่าครึ่งหนึ่ง  ครั้งนี้ถือเป็นการลดลงของกำไรครั้งที่ 5 ของสิงคโปร์แอร์ไลน์   เมื่อเทียบกับคู่แข่งที่ราคาหุ้นของพวกเขาเริ่มมีราคาแพงขึ้น
              ทวีปเอเชียยังคงเป็นที่ที่สายการบินหลายสายต้องการอยู่    The International Air Transport Association  ได้ทำนายว่า ปีต่อไปจะมีการเติบโตอีก 2% ในผู้โดยสารแถบเอเชีย  ซึ่งถือว่าต่ำกว่าเพียงแค่ 2%จากผู้โดยสารในทวีปอเมริกา  อย่างไรก็ตามกำไรสุทธิของสายการบินในทวีปเอเชียถูกคาดว่าจะเพิ่มอีก 2.1%  ในขณะที่สายการบินในทวีปอเมริกาจะเพิ่มอีก 1.7%   แต่เป้าหมายระดับล่างคาดว่าจะได้รับผลกระทบอย่างมากจากราคาเชื้อเพลิงที่เพิ่มขึ้น   ความจริงแล้ว สิงคโปร์แอร์ไลน์สามารถทำให้รายได้เพิ่มขึ้น 1% จากปีก่อน  แต่มันก็ทำให้ต้นทุนเพิ่มขึ้น 12% ซึ่ง 12% นี้ส่วนใหญ่เกิดจากค่าเชื้อเพลิง  ดังนั้นกำไรจากการดำเนินงานของสิงคโปร์แอร์ไลน์จึงลดลงจาก 13% เป็น 4%
                การมุ่งเน้นเพียงประสิทธิภาพ   ทำให้สิงคโปร์แอร์ไลน์มีการลดลงเล็กน้อยในผลการดำเนินงานในระยะสั้น กล่าวคือ เมื่อไตรมาสที่แล้ว load factor ของสิงคโปร์แอร์ไลน์อยู่ที่ 77%  ซึ่งถือว่าอยู่เหนือค่าเฉลี่ยของสายการบินในทวีปเอเชียที่อยู่ที่ 76%  แต่ถือว่าอยู่ในระดับต่ำกว่าคู่แข่งอย่าง  Qantas (80%) และ Cathay Pacific (79%)  แต่อย่างไรก็ตามสิงคโปร์แอร์ไลน์ก็ยังคงมีอัตราของการดำเนินงานอื่นๆที่สูง  โดยเฉพาะเมื่อเปรียบเทียบกับ Qantas    Qantas  ถูกขัดขวางจากแรงงานสัมพันธ์และนักลงทุนของ Qantas ยังเกรงกลัวการเรียกเงินสดเพื่อกองทุนแผนการทดแทนฝูงบินอยู่  เมื่อเปรียบเทียบกับสิงคโปร์แอร์ไลน์  ถือว่า Qantas มีราคาถูกกว่า  ดังนั้นการต่อสู้ที่แข็งแกร่งและการมีค่าใช้จ่ายบางอย่างที่ถูกกว่า ดูเหมือนจะเป็นทางออกที่ดีสำหรับในตอนนี้

    ความคิดเห็น
                จะเห็นว่าถึงแม้สิงคโปร์แอร์ไลน์จะได้รับผลกระทบจากราคาน้ำมันที่สูงขึ้น ส่งผลให้ผลการดำเนินงานของบริษัทแย่ลง  แต่สิงคโปร์แอร์ไลน์ก็ยังต่อสู้อย่างแข็งแกร่งกับปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น  จนในปัจจุบันสามารถกลับมายืนหยัดเหนือคู่แข่งได้ และได้ชื่อว่าเป็นสายการบินที่ดีที่สุด 1 ใน 3 ของโลก  โดยแนวความคิดที่สิงคโปร์แอร์ไลน์นำมาใช้เมื่ออยู่ในภาวะวิกฤตเช่นนี้ คือ การตั้งมั่นอยู่ในสติที่ดีเพื่อให้มองเห็นถึงทางออกของปัญหา  ทำให้สามารถพลิกวิกฤติกลับมาเป็นผลกำไรได้  ด้วยการมองเห็นถึงความต้องการของกลุ่มเป้าหมายที่ยังมีความต้องการ และที่สำคัญยังมีกำลังซื้ออยู่  ดังนั้นสิงคโปร์แอร์ไลน์จึงตัดสินใจลงทุนปรับปรุงเครื่องบินทำเก้าอี้เป็นชั้นธุรกิจ (business class) ทั้งลำ  ส่งผลให้ได้รับความนิยมทันทีและสามารถจำหน่ายตั๋วได้ดีกว่าเดิม

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น